โน้ตสากล.. มาจากไหน??
ตัวโน้ตในบรรทัดห้าเส้น ไม่ว่าจะเป็นโน้ตตัวกลม โน้ตตัวขาว หรือแม้กระทั่งตัวเขบ็ด ล้วนเป็นภาษาๆ หนึ่งที่ถูกคิดขึ้นให้เข้าใจกันได้ในระดับสากลโลก แต่รู้ไหมครับว่ามีจุดเริ่มต้นมาจากไหน แล้วทำไมถึงต้องเป็นตัวโน้ตแบบทุกวันนี้ หากเพื่อนๆ พร้อมกันแล้วไปหน้าถัดไปกันเล๊ยยยย
โน้ตมีมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 8
จริงๆ แล้วมีผู้พยายามคิดระบบการบันทึกดนตรีมาใช้หลายระบบ แต่ไม่เป็นที่นิยม จนเมื่อมีระบบนูมาติดในปลายศตวรรษที่ 9 ที่เริ่มมีการพัฒนาองค์ประกอบต่างๆ ของนูมาติก อย่างจริงจัง
“neuma”
สัญลักษณ์ของเสียงเพลง
“neuma” คือเครื่องหมายทุกอย่างที่อยู่เหนือพยางค์ของคำร้อง โดยบางตำราจะใช้คำว่า “นูมส์” เป็นสัญลักษณ์แสดงทิศทางของเสียง โดยใช้สัญลักษณ์ทางไวยากรณ์จากภาษาของกรีกและโรมัน แต่ไม่ชัดเจนเรื่องของระดับเสียงจังหวะ ทำให้การเล่นดนตรีหรือการร้องไม่เป็นมาตราฐาน แต่ถือได้ว่าสามารถทำให้เห็นเค้าของแนวทำนองของเพลงได้
Guido de’ Arezzo
ผู้พัฒนาการจดบันทึก
โดยสมัยของ Guido de’ Arezzo เป็นบาทหลวง และจะใช้ “นูมส์” มาอ่านเล่นเพลงเพื่อประกอบพิธีกรรม นั้นยากมากเพราะในเรื่องของระดับเสียง และจังหวะ ทำให้เริ่มมีการพัฒนาตัวบ่งชี้ หรือ คีย์ ในการเล่นเพลง เป็นสีๆ ในบรรทัดของโน้ตเพลง อาทิเช่น หากเส้นเป็นสีเหลือง จะอยู่ในคีย์ C แต่หากเป็นสีแดงจะอยู่ในคีย์ F ทำให้ผู้เล่นดนตรีสามารถเล่นเพลงตามคีย์เพลงได้ถูกต้องขึ้น
ยุคแห่งความเป็นมาตรฐาน
หลังจากที่ Guido De’ Arezzo ได้มีการพัฒนาเรื่องการบันทึกโน้ตมาเรื่อยๆ จนในศตวรรษที่ 13 ก็เกิดกลายเป็นโน้ตสากล ที่มีเส้นสตาฟฟ์ 5 เส้น และมีจังหวะและคีย์บอกอยู่ภายในตัว ทำให้เป็นมาตรฐานที่ถูกนำไปใช้อย่างแพร่หลายกันทั่วโลก
จบกันไปแล้วกับความเป็นมาของโน้ตสากล
แต่ถ้าให้พูดจริงๆ โน้ตสากลก็เป็นดั่งเหมือนภาษาๆ หนึ่งที่ไว้สื่อสาร ทั้งผู้ฟัง ผู้เล่น ให้รู้สึกนึกคิด หรือบรรยายความรู้สึกต่างๆ ออกมาได้ และหากใครต้องการที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับโน้ตดนตรี หรืออยากเล่นเปียโน แนะนำตัวนี้เลย TheONE TOP1x ที่จะช่วยให้เพื่อนๆ เรียนเปียโนด้วยตัวเองได้เหมือนจับมือวาง ผ่านแอพพลิเคชั่นของทาง TheONE อีกด้วย
ที่สำคัญหากสั่งซื้อตอนนี้ทาง TheONE มีคอร์สเรียนเปียโนฟรี 40 บทเรียน สนใจคลิกลิงค์ด้านล่างเลยยย
โน้ตสากล.. มาจากไหน??
ตัวโน้ตในบรรทัดห้าเส้น ไม่ว่าจะเป็นโน้ตตัวกลม โน้ตตัวขาว หรือแม้กระทั่งตัวเขบ็ด ล้วนเป็นภาษาๆ หนึ่งที่ถูกคิดขึ้นให้เข้าใจกันได้ในระดับสากลโลก แต่รู้ไหมครับว่ามีจุดเริ่มต้นมาจากไหน แล้วทำไมถึงต้องเป็นตัวโน้ตแบบทุกวันนี้ หากเพื่อนๆ พร้อมกันแล้วไปหน้าถัดไปกันเล๊ยยยย
โน้ตมีมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 8
จริงๆ แล้วมีผู้พยายามคิดระบบการบันทึกดนตรีมาใช้หลายระบบ แต่ไม่เป็นที่นิยม จนเมื่อมีระบบนูมาติดในปลายศตวรรษที่ 9 ที่เริ่มมีการพัฒนาองค์ประกอบต่างๆ ของนูมาติก อย่างจริงจัง
“neuma” คือเครื่องหมายทุกอย่างที่อยู่เหนือพยางค์ของคำร้อง โดยบางตำราจะใช้คำว่า “นูมส์” เป็นสัญลักษณ์แสดงทิศทางของเสียง โดยใช้สัญลักษณ์ทางไวยากรณ์จากภาษาของกรีกและโรมัน แต่ไม่ชัดเจนเรื่องของระดับเสียงจังหวะ ทำให้การเล่นดนตรีหรือการร้องไม่เป็นมาตราฐาน แต่ถือได้ว่าสามารถทำให้เห็นเค้าของแนวทำนองของเพลงได้
โดยสมัยของ Guido de’ Arezzo เป็นบาทหลวง และจะใช้ “นูมส์” มาอ่านเล่นเพลงเพื่อประกอบพิธีกรรม นั้นยากมากเพราะในเรื่องของระดับเสียง และจังหวะ ทำให้เริ่มมีการพัฒนาตัวบ่งชี้ หรือ คีย์ ในการเล่นเพลง เป็นสีๆ ในบรรทัดของโน้ตเพลง อาทิเช่น หากเส้นเป็นสีเหลือง จะอยู่ในคีย์ C แต่หากเป็นสีแดงจะอยู่ในคีย์ F ทำให้ผู้เล่นดนตรีสามารถเล่นเพลงตามคีย์เพลงได้ถูกต้องขึ้น
หลังจากที่ Guido De’ Arezzo ได้มีการพัฒนาเรื่องการบันทึกโน้ตมาเรื่อยๆ จนในศตวรรษที่ 13 ก็เกิดกลายเป็นโน้ตสากล ที่มีเส้นสตาฟฟ์ 5 เส้น และมีจังหวะและคีย์บอกอยู่ภายในตัว ทำให้เป็นมาตรฐานที่ถูกนำไปใช้อย่างแพร่หลายกันทั่วโลก
จบกันไปแล้วกับความเป็นมาของโน้ตสากล แต่ถ้าให้พูดจริงๆ โน้ตสากลก็เป็นดั่งเหมือนภาษาๆ หนึ่งที่ไว้สื่อสาร ทั้งผู้ฟัง ผู้เล่น ให้รู้สึกนึกคิด หรือบรรยายความรู้สึกต่างๆ ออกมาได้ และหากใครต้องการที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับโน้ตดนตรี หรืออยากเล่นเปียโน แนะนำตัวนี้เลย TheONE TOP1x ที่จะช่วยให้เพื่อนๆ เรียนเปียโนด้วยตัวเองได้เหมือนจับมือวาง ผ่านแอพพลิเคชั่นของทาง TheONE อีกด้วย
ที่สำคัญหากสั่งซื้อตอนนี้ทาง TheONE มีคอร์สเรียนเปียโนฟรี 40 บทเรียน สนใจคลิกลิงค์ด้านล่างเลยยย